วันอังคารที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2559

อาชีพที่ฉันใฝ่ฝัน

               ฉันใฝ่ฝันที่จะเป็นสัตวแพทย์ เพราะฉันรักสัตว์ฉันอยากศึกษาและอยากชาวยเหลือสัตว์ที่ยากไร้หรือไร้บ้าน  และทุกครั้งที่ฉันเห็นหมาข้างถนนฉันมักจะสงสารและอยากเอาอาหารไปให้มันเพื่อบบรเทาความหิวของมัน   ฉันรักสัตว์และสนใจที่จะศึกษาเกี่ยยวกับพวกมันมาก ถ้าฉันได้เป็นสัตวแพทย์ฉันอยากจะช่วยพวกมันโดยไม่คิดหรืออยากได้อะไรตอบแทนเลย   ฉันอยากให้มีการช่วยเหลือสัตว์และควนมีกฏหมายที่เคร่งครัดกว่านี้ โดยห้ามทิ้งสุนัขไว้ข้างถนน  



วันอังคารที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559

โรคติดต่อทางพันธุกรรม

โรคฮีโมฟีเลีย

          ในคนปกติเมื่อเกิดอุบัติเหตุแขนขาถลอก หรือมีดบาดเพียงเล็กน้อยยังรู้สึกเจ็บปวด ยิ่งหากมีเลือดไหลออกมาด้วยก็ยิ่งเพิ่มความเจ็บปวดขึ้นไปอีก แต่รู้หรือไม่ว่า ยังมีผู้ป่วยอีกกลุ่มหนึ่งที่ต้องทรมานกับอาการที่เรียกว่า โรคเลือดออกง่ายหยุดยาก หรือ โรคฮีโมฟีเลีย ( Hemoplilia ) ซึ่งหากผู้ป่วยกลุ่มนี้มีอุบัติเหตุ หรือมีบาดแผลเกิดขึ้น พวกเขาไม่เพียงแต่จะเจ็บปวดมากกว่าคนปกติ แต่ทุกวินาทีที่มีเลือดไหลสำหรับผู้ป่วยโรคฮีโมฟีเลียแล้ว นั่นอาจหมายถึง ความเป็นความตายของชีวิตเลยทีเดียว

อาการ     จะเป็นจ้ำเขียว และมีอาการเลือดออกภายในข้อต่างๆ ของร่างกาย เมื่อเริ่มมีอาการผู้ป่วยจะมีอาการปวดตึงขัดบริเวณกล้ามเนื้อและ   อ่านเพิ่มเติม

โรคติดต่อทางพันธุกรรม

สาเหตุ
โรคท้าวแสนปม เรียกว่า neurofibromatosis (NF) เป็นโรคพันธุกรรม ชนิดหนึ่งที่ก่อให้เกิดความผิด ปกติที่กระดูก ระบบประสาท เนื้อเยื่ออ่อน และผิวหนัง ความผิดปกติต่าง ๆ จะเป็น มากขึ้นเรื่อย ๆ ในรายที่ รุนแรงจะมีอาการแทรกซ้อนทางระบบประสาท และ อาจเกิดเป็นมะเร็งได้
อาการ
โรคท้าวแสนปมชนิดที่ 1 เป็นชนิดที่พบบ่อย พบประมาณ 1 ใน 2,500 ถึง 3,500 คน สามารถวินิจฉัยว่าเป็นโรคนี้ โดยพบอาการต่อไปนี้อย่างน้อย 2 ใน 7 อาการ
           ปานสีกาแฟใส่นมอย่างน้อย 6 ตำแหน่ง
           พบก้อนเนื้องอกตามผิวหนัง 2 ตุ่มขึ้นไป
           พบกระที่บริเวณรักแร้ หรือขาหนีบ
           พบเนื้องอกของเส้นประสาทตา
           พบเนื้องอกของม่านตา 2 แห่งขึ้นไป
           พบความผิดปกติของกระดูก
           มีประวัติคนในครอบครัวเป็นโรคนี้ อ่านเพิ่มเติม

โรคติดต่อทางพันธุกรรม

โรคดักแด้ หรือ Epidermolysis Bullosa (EB) อยู่ในกลุ่มโรคประเภทโรคผิวหนัง ซึ่งเกิดจากความผิดปกติที่ไม่ค่อยพบนัก มีสาเหตุจากการกลายพันธุ์จากยีนเคราติน มีอาการผิวแห้ง บอบบางอย่างรุนแรงและมีแผลพุพอง  อ่านเพิ่มเติม

โรคติดต่อทางพันธุกรรม

โรคผิวเผือก
    โรคอัลบินิซึม (albinism) โรคอัลบินิซึม หรือโรคผิวเผือก เกิดจากยีนด้อย ที่มีอยู่ในพันธุกรรม ทำให้ไม่สามารถ สร้างเอนไซม์ เมลาโนโซท์ ไทโรซิเนส melamocyte tyrosinase ที่จะเปลี่ยนไทโรซีน ซึ่งเป็นโปรตีน สำคัญตัวหนึ่ง ไปเป็นเมลานิน melanin ซึ่งทำให้ผู้ที่เป็นโรคนี้ แสดงลักษณะ เผือกคือ มีสีผิวขาว ผมขาว ตาสีขาว ม่านตาสีเทาและโปร่งแสง รูม่านตา สะท้อนแสงออกมาเป็นสีแดง ร่างกายอ่อนแอติดเชื้อได้ง่ายกว่าคนทั่วไป การทดสอบทางพันธุกรรมภาวะผิวเผือก เกิดกับคนทุกเชื้อชาติ มีอัตราการเกิดประมาณ 1:17,000 คน เกิดในพื้นที่ที่มีคนดำอาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก เพราะเกิดจากการผสมกันระหว่างยีนด้อยกับยีนด้อย  อ่านเพิ่มเติม


โรคติดต่อทางพันธุกรรม

โรคซิสติกไฟโบรซิส

      โรคซิสติกไฟโบรซิส Cystic Fibrosis โรคนี้เป็นโรคกรรมพันธุ์ที่รุนแรง มีความผิดปกติของตับอ่อน ซึ่งมีหน้าที่สร้างเอ็นไซม์ในการย่อยอาหาร สร้างบางส่วนของต่อมน้ำลาย ต่อมในระบบทางเดินหายใจและต่อมเหงื่อ โรคแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นกับโรคนี้คือ
    (1)  ร่างกายตกอยู่ในภาวะขาดอาหาร
    (2) การอักเสบของอวัยวะในระบบหายใจ
    (3) ไม่มีแรง เนื่องจากมีเหงื่อออกมากทำให้ร่างกายสูญเสียโซเดี่ยมคลอไรด์ โรคนี้มักจะเกิดขึ้น  อ่านเพิ่มเติม

โรคที่เกิดจากพันธุกรรม

โรคเลือดจางธาลัสซีเมีย
      เป็นโรคที่มีความผิดปกติในการสร้างฮีโมโกลบิน ซึ่งเป็นส่วนประกอบในการสร้างเม็ดเลือดแดง ทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง จากการที่เม็ดเลือดแดงแตกง่ายกว่าปกติ โรคนี้เป็นได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย พ่อและแม่จะเป็นผู้ถ่ายทอดยีนผิดปกตินี้ไปยังลูก พบผู้ป่วยเป็นโรคนี้ได้ทั่วโลก ในประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคเลือดจางธาลัสซีเมีย ประมาณร้อยละ 1 ของประชากร และพบผู้ที่มียีนแฝง (พาหะ) ประมาณร้อยละ 40 ของประชากร  อ่านเพิ่มเติม

โรคเกิดจากการประกอบอาชีพที่มีสาเหตุจากสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ

โรคบาดทะยัก
บาดทะยัก (Tetanus*) เป็นโรคติดเชื้อแบคทีเรียชนิดหนึ่งที่มีอันตรายร้ายแรง ในบ้านเรายังพบโรคนี้ได้เป็นครั้งคราว สามารถพบได้ในคนทุกวัย ส่วนมากผู้ป่วยจะมีประวัติมีบาดแผลตามร่างกาย เช่น ตะปูตำ หนามเกี่ยว มีบาดแผลสกปรก หรือขาดการดูแลแผลอย่างถูกต้อง และไม่ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยักมาก่อน ซึ่งความสำคัญของโรคนี้คือ ผู้ป่วยจะมีโอกาสเสียชีวิต ส่วนคนที่เคยเป็นโรคนี้ครั้งหนึ่งแล้วก็ยังสามารถเป็นซ้ำได้อีก แต่โรคนี้ก็สามารถป้องกันได้ด้วยการฉีดวัคซีน  อ่านเพิ่มเติม

โรคจากการประกอบอาชีพ

โรคจากแมงกานีส
     อาการพิษของแมงกานีสพิษแมงกานี้ในการอุตสาหกรรมส่วนมากเป็นชนิดเรื้อรัง อาการค่อย ๆ เป็น ค่อยๆ ไป
การควบคุมและป้องกัน

-ติดตั้งเครื่องดูดอากาศเฉพาะที่ให้บริเวณที่เกี่ยวข้องกับแมงกานีส เช่น ที่มีการบด การร่อน การบรรจุ หรือบริเวณที่มี การหลอมเหลวเหนียวผสมแมงกานีส  อ่านเพิ่มเติม


ความร้อนกับการทำงาน

กลไกของร่างกายในการควบคุมความร้อน
       โดยปกติร่างกายของมนุษย์มีอุณหภูมิปกติอยู่ที่ 37 องศาเซลเซียส หรือ 98.6 องศาฟาเรนไฮต์ ซึ่งควบคุมโดยศูนย์ควบคุมอุณหภูมิของร่างกายที่สมองส่วนไฮโปธารามัส ซึ่งจะทำหน้าที่ควบคุมการระบายความร้อนโดยต่อมเหงื่อ การถ่ายเทความร้อนของร่างกายมีทั้งการนำ การพา และการแผ่รังสีความร้อน การถ่ายเทความร้อนของร่างกายจะดีมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลายประการ  บรรยากาศที่มีความชื้นน้อย ทำให้การระเหยของเหงื่อจากร่างกายจะทำได้มาก และการที่ร่างกายคนงานต้องทำงานในที่ที่มีอุณหภูมิสูง    การระบายความร้อนจากบรรยากาศจะถูกพาเข้าสู่ร่างกายของมนุษย์มากกว่าที่ร่างกายจะสามารถระบายความร้อนออกก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาพร่างกาย 


โรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพอุตสาหกรรม

โรคจากตะกั่ว (Disease caused by lead or its toxic compound)

         ตะกั่วเป็นสารโลหะที่มีสีเทาอมเงิน ตะกั่วที่ใช้ในอุตสาหกรรมจะมีสองชนิด ตะกั่วอินทรีย์ และตะกั่วอนินทรีย์   ผู้ประกอบอาชีพและงานที่เสี่ยงต่อการได้รับพิษจากสารตะกั่วได้แก่ อุตสาหกรรมผลิต แบตเตอรี่ อุตสาหกรรมผลิตแก้ว อุตสาหรรมอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์  กระเบื้องและการทำเซรามิก  อ่านเพิ่มเติม

โรคที่เกิดจากการประกอบอาชีพ

โรคแร่ใยหินที่ปอด
      สาเหตุของการเกิดโรค
 โดยทั่วไปโรคนี้พบได้ในคนงานอาชีพบางอย่าง เช่น กรรมกรท่าเรือ กรรมกรงานสิ่งทอเกี่ยวกับ Asbestos คนงานทำเบรกรถยนต์ คนงานทำวัสดุทนไฟ ฯลฯ รวมทั้งผู้ที่อยู่อาศัยใกล้กับโรงงานต่าง ๆ ดังกล่าวด้วย
          พยาธิสภาพของแอสเบสโตสิส มักพบในปอดกลีบล่าง โดยเป็นพังผืดกระจัดกระจายทั่วไปใน เนื้อปอด เยื่อหุ้มปอดหนา และมีพังผืดติดกับผนังทรวงอก นอกจากนี้ยังอาจพบ “asbestos body” ได้ใน ถุงลมหรือในบริเวณที่มีพังผืด ในรายที่มีพยาธิสภาพเป็นหย่อม ๆ เนื้อปอดอาจมีลักษณะเป็นแบบรังผึ้ง    อ่านเพิ่มเติม